Taiwan Excellence พร้อมขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการผลิตไทย
บริษัทที่ได้รับรางวัล Taiwan Excellence 4 บริษัท ได้แก่ Chin Fong, Da Jie, Jainnher และ Tongtai ร่วมสาธิตโซลูชันการผลิตอัจฉริยะ ในงานสัมมนาออนไลน์ “Taiwan Excellence Driving a New …
บริษัทที่ได้รับรางวัล Taiwan Excellence 4 บริษัท ได้แก่ Chin Fong, Da Jie, Jainnher และ Tongtai ร่วมสาธิตโซลูชันการผลิตอัจฉริยะ ในงานสัมมนาออนไลน์ “Taiwan Excellence Driving a New …
ในเดือนกรกฎาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,029 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.5% ต่อเนื่องเดือนที่ 21
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 2 ของปี 2022 เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมครึ่งปีแรกมียอดสั่งซื้อเกือบเทียบเท่าปี 2018 ซึ่งเป็นปีที่ทำสถิติยอดสั่งซื้อสูงสุด แต่สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนจะส่งผลต่อราคาในครึ่งปีหลัง
ในเดือนมิถุนายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,159 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 17.1% ต่อเนื่องเดือนที่ 20 ภาพรวมครึ่งปีแรกโดดเด่น โดยเฉพาะเครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูง
ในเดือนพฤษภาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,134 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 23.7% โตต่อเนื่องเดือนที่ 19 ท่ามกลางการขาดแคลนชิ้นส่วน
TAKAMAZ PRIVATE SHOW 2022 ตอกย้ำดีมานด์เครื่องจักรในอุตสาหกรรมยานยนต์ รับแรงกระเพื่อมการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในญี่ปุ่น ทำให้หลายชิ้นส่วนของรถใช้น้ำมันโอนย้ายไลน์ผลิตมาไทย
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสแรกของปี 2022 อยู่ในระดับสูงและยังไหลรื่นได้ดี แต่ยังมีปัจจัยสงครามรัสเซีย ปัญหาซัพพลายเชน และพลังงานที่จะกระทบ คาดทั้งปีโต 10%
ในเดือนเมษายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,185 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 25.0% โตต่อเนื่องเดือนที่ 18 ยังไม่ได้รับผลกระทบการขาดแคลนชิ้นส่วนและล็อกดาวน์จีน
สหรัฐฯ ทำสถิติยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2022 มูลค่า 1.47 ล้านเหรียญ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ของไตรมาสแรกในรอบสองทศวรรษ
ในเดือนมีนาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,277 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 30.0% โตต่อเนื่องเดือนที่ 17 และเป็นตัวเลขสูงสุดอันดับ 2 นับแต่มีการบันทึกสถิติ
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกล 7 ผู้ผลิตรายใหญ่บริษัทญี่ปุ่นปิดที่ 3,812 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 76.7% เติบโตสูงสุดครั้งแรกในรอบ 3 ปี รับลงทุนอากาศยาน รถยนต์ไฟฟ้า และชิปเซมิคอนดักเตอร์
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,142 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 31.6% โตต่อเนื่องเดือนที่ 16 ท่ามกลางการขาดแคลนชิ้นส่วนที่เป็นปัญหาใหญ่ของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
แม้จะเป็นช่วงที่โลกประสบกับวิกฤตต่าง ๆ มากมาย แต่เครื่องจักรกลก็เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการสนับสนุนอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจให้เดินหน้าต่อไปได้ ซึ่งรวมถึงไทยที่มีเครื่องจักรกลญี่ปุ่นเป็นผู้เล่นหลักในอุตสาหกรรมการผลิต
ในปี 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,236 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 61.3% หลายประเทศทยอยฟื้นตัว ขณะที่ประเทศเทคโนโลยีชั้นนำเร่งลงทุนเครื่องจักรขนานใหญ่
ในปี 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 13,394 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 70.9% ทำสถิติสูงสุดในรอบ 3 ปี โดยจีนเป็นประเทศที่สั่งซื้อมากที่สุด ตามด้วยสหรัฐฯ และเยอรมนี
คาดการณ์ภาวะการลงทุนปี 2022 ในหมวดสินค้าทุน เครื่องจักร หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จะขยายตัวอย่างมาก เพื่อแก้ปัญหาซัพพลายเชนและการเปลี่ยนเทคโนโลยี
ในเดือนพฤศจิกายน 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,262 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 64% (YoY) ฝั่งไทยทำยอดสั่งซื้อครองแชมป์อันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่อง
สมาคมเครื่องจักรกลแห่งยุโรปเผยสัญญาณบวกอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล คาดความต้องการจากยานยนต์และอากาศยานพุ่งในปี 2022 สวนทางวิกฤตโลก
ในเดือนตุลาคม 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,320 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 81.5% YoY ยอดสั่งซื้อจากไทยพุ่งขึ้นเป็นอันดับ 3 ของเอเชีย
รายงานสถานการณ์ โอกาส และปัจจัยเสี่ยง ในอุตสาหกรรม Machine Tools ที่ได้รับผลกระทบทั้งแง่บวกและแง่ลบจากแนวโน้มโลกหลังโควิด